คำอธิบายรายวิชา
แนวคิด ที่มา และความหมายของ ความยุติธรรม การเข้าถึงความยุติธรรม การบริหารงานยุติธรรมทางอาญา กระบวนการยุติธรรมไทย หลักนิติธรรม บทบาทและหน้าที่ของหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรม กระบวนการยุติธรรมอาญากระแสหลัก กระบวนการยุติธรรมทางเลือก ปัญหาที่เกิดขึ้นในกระบวนการยุติธรรม |
เกี่ยวกับรายวิชา
ชื่อรายวิชา (ภาษาไทย): | กระบวนการยุติธรรมไทย |
ชื่อรายวิชา (ภาษาอังกฤษ): | Thai Criminal Justice |
คณะ/ส่วนงานผู้พัฒนารายวิชา: | คณะสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์ |
จำนวนชั่วโมงการเรียนรู้ออนไลน์ทั้งหมด: | 5 ชม. |
จำนวนชั่วโมงที่ต้องใช้ในการเรียนรู้ต่อสัปดาห์/หรือต่อครั้ง : | 1 ชม. |
ประเภทวิชา: | Social and Humanity Literacy |
ระดับของเนื้อหารายวิชา : | เบื้องต้น |
รูปแบบการเรียนในรายวิชา : | เรียนด้วยตนเอง (self-paced) |
ภาษาที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน: | ภาษาไทย |
Subtitle: | มี |
กลุ่มเป้าหมายของรายวิชา : | - นักศึกษา ระดับปริญญาตรี - บุคคลทั่วไปที่มีความสนใจในด้านงานยุติธรรม และเป็นผู้ที่สอบบรรจุราชการ หรือพนักงานราชการของกระทรวงยุติธรรม - อื่น ๆ นักวิชาการยุติธรรมระดับต้น เจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ระดับต้น ของกรมราชทัณฑ์ พนักงานคุมประพฤติ กรมคุมประพฤติ |
วัตถุประสงค์การเรียนรู้: |
|
บทเรียนที่เกี่ยวข้อง: |
- กระบวนการยุตธรรมในระบอบประชาธิปไตย ๑๐๐ ปี https://www.constitutionalcourt.or.th/occ_web/ewt_dl_link.php?nid=1467 - การปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม https://www.senate.go.th/assets/portals/93/fileups/272/files/S%E0%B9%88ub_Jun/10reform/reform4.pdf - สรุปสาระสำคัญกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ http://web.krisdika.go.th/pdfPage.jsp?type=act&actCode=210 |
นโยบายการวัดประเมินผล เกณฑ์การให้คะแนน การผ่าน/ไม่ผ่าน และใบประกาศนียบัตร |
ผู้เรียนได้รับประกาศนียบัตรอิเล็คทรอนิกส์ เมื่อผ่านการวัดผลทั้งหมด และได้ผลการประเมินเกิน 70% |
ทีมผู้สอนและทีมผู้พัฒนารายวิชาออนไลน์ | |
รองศาสตราจารย์ ดร.สุณีย์ กัลยะจิตร คณะสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์ e-mail: sunee.kan@mahidol.ac.th |