อาจารย์ผู้สอน |
|||
|
อาจารย์ กภ.ศิระ บุญประสพ คณะกายภาพบำบัด สาขากายภาพบำบัด |
รองศาสตราจารย์ ดร. พีร์มงคล วัฒนานนท์ คณะกายภาพบำบัด สาขากายภาพบำบัด |
|
อาจารย์ ดร.กภ.รัชชนก ไกรวงศ์ คณะกายภาพบำบัด สาขากายภาพบำบัด |
อาจารย์ ดร. อัมพร นันทาภรณ์ศักดิ์ คณะกายภาพบำบัด สาขากายภาพบำบัด |
||
อาจารย์ ดร.กภ.รัตนา เพชรสีทอง คณะกายภาพบำบัด สาขากายภาพบำบัด |
รองศาสตราจารย์ ดร.กภ.วรรธนะ ชลายนเดชะ คณะกายภาพบำบัด สาขากายภาพบำบัด |
คำอธิบายรายวิชา
บทนำสู่กายวิภาคศาสตร์ และชีวกลศาสตร์ คำศัพท์ วิทยาเซลล์ เนื้อเยื่อบุผิว ผิวหนัง เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ต่อมน้ำนมและเต้านม เนื้อเยื่อกระดูก กระดูกอ่อน วิทยากระดูกและข้อต่อ เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อและการศึกษากล้ามเนื้อ เนื้อเยื่อประสาท ความมั่นคงและการเคลื่อนที่ กลศาสตร์และการเคลื่อนไหวของมนุษย์ มหกายวิภาคศาสตร์ และชีวกลศาสตร์ของร่างกายมนุษย์ โครงสร้างต่าง ๆ ของส่วนกระดูกสันหลัง ผนังลำตัวด้านหน้าและด้านหลัง ส่วนหน้าอก ผนังช่องท้อง และเชิงกราน ร่างแหเส้นประสาทระดับแขน ร่างแหเส้นประสาทระดับเอว การประยุกต์ความรู้กายวิภาคศาสตร์และหลักการทางชีวกลศาสตร์ในส่วนของกระดูก ข้อต่อ เนื้อเยื่อและผนังลำตัวทั้งในสภาวะปกติและผิดปกติ |
เกี่ยวกับรายวิชา
ชื่อรายวิชา (ภาษาไทย): | กายวิภาคศาสตร์และชีวกลศาสตร์ 1 |
ชื่อรายวิชา (ภาษาอังกฤษ): | Anatomy and Biomechanics 1 |
คณะ/ส่วนงานผู้พัฒนารายวิชา: | คณะกายภาพบำบัด สาขากายภาพบำบัด |
จำนวนชั่วโมงการเรียนรู้ออนไลน์ทั้งหมด: | 12 ชม. |
จำนวนชั่วโมงที่ต้องใช้ในการเรียนรู้ต่อสัปดาห์/หรือต่อครั้ง : | 2 ชม. |
ประเภทวิชา: | Health Literacy |
ระดับของเนื้อหารายวิชา : | เบื้องต้น |
รูปแบบการเรียนในรายวิชา : | เรียนด้วยตนเอง (self-paced) |
ภาษาที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน: | ภาษาไทย |
Subtitle: | มี |
กลุ่มเป้าหมายของรายวิชา : | - นักเรียน/นักศึกษา ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมปลายในสาขาวิทยาศาสตร์ และนักศึกษาระดับปริญญาตรีหรือหลังปริญญาทุกสาขา - บุคคลทั่วไป ได้แก่ บุคคลทั่วไปผู้สนใจทางด้านกายวิภาคศาสตร์และชีว กลศาสตร์ของมนุษย์ - อื่น ๆ ได้แก่ บุคลากรทางการแพทย์ แพทย์ พยาบาล นักกายภาพบำบัดและนักกิจกรรมบำบัด เป็นต้น |
คุณสมบัติผู้เรียน/ความรู้พื้นฐานที่ควรมีมาก่อน: |
|
วัตถุประสงค์การเรียนรู้: |
|
นโยบายการวัดประเมินผล เกณฑ์การให้คะแนน การผ่าน/ไม่ผ่าน และใบประกาศนียบัตร |
ผู้เรียนได้รับประกาศนียบัตรอิเล็คทรอนิกส์ เมื่อผ่านการวัดผลทั้งหมด และได้ผลการประเมินเกิน 60% |