Skip to main content

ภาษาอังกฤษเพื่อทักษะการสื่อสารดิจิทัล (English for Digital Communication)


MU-LA

 

 
คำอธิบายรายวิชา
       ทักษะภาษาอังกฤษเชิงบูรณาการทั้งการพูด การฟัง การอ่านและการเขียนและองค์ความรู้สำคัญเพื่อการติดต่อสื่อสารและการร่วมงานระหว่างวัฒนธรรมที่มีประสิทธิภาพผ่านการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในยุคโลกาภิวัตน์ มโนทัศน์เกี่ยวกับและการประยุกต์ใช้สื่อดิจิทัล ความเป็นพลเมืองดิจิทัลและทักษะศตวรรษที่ 21 ในบริบทที่มีการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร การใช้ทักษะการเรียนรู้เพื่อเลือกสรร และประเมินเนื้อหาหรือสื่อดิจิทัลในรูปแบบต่าง ๆ สำหรับการสื่อสารเป็นภาษาอังกฤษในระดับมหาวิทยาลัยได้

       Integrated communicative language skills, i.e. speaking, listening, reading, writing, and knowledge necessary for the effective intercultural communication and collaboration using the digital technology in the globalized world; the concepts and applications of digital literacy, digital citizenship, and 21st century skills in English-speaking contexts; using study skills in selecting as well as evaluating various forms of digital content for the university-level communication in English

 

 
เกี่ยวกับรายวิชา
ชื่อรายวิชา (ภาษาไทย): ภาษาอังกฤษเพื่อทักษะการสื่อสาร
ชื่อรายวิชา (ภาษาอังกฤษ): English for Digital Communication Skills
คณะ/ส่วนงานผู้พัฒนารายวิชา: คณะศิลปศาสตร์
จำนวนชั่วโมงการเรียนรู้ออนไลน์ทั้งหมด: 15  ชม.
จำนวนชั่วโมงที่ต้องใช้ในการเรียนรู้ต่อสัปดาห์/หรือต่อครั้ง : 1-3 ชม.
ประเภทวิชา: Civic Literacy
ระดับของเนื้อหารายวิชา : เบื้องต้น
รูปแบบการเรียนในรายวิชา : เรียนด้วยตนเอง (self-paced)
ภาษาที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน: ภาษาไทย/ภาษาอังกฤษ
Subtitle: มี
กลุ่มเป้าหมายของรายวิชา : - นักเรียน/นักศึกษา ได้แก่ นักศึกษาทุกหลักสูตร (ภาษาไทยและนานาชาติ) ทั้งระดับปริญญาตรี โท และเอก, นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาทุกแผนการเรียน, นักเรียนระดับปวช. และปวส. ทุกแผนการเรียน
- บุคคลทั่วไป ได้แก่ ผู้ที่สนใจพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อใช้ในการทำงานที่ต้องศึกษาค้นคว้าข้อมูล ติดต่อสื่อสาร ประสานงานในปริบทออนไลน์
   
  คุณสมบัติผู้เรียน/ความรู้พื้นฐานที่ควรมีมาก่อน:
  • เพื่อให้เกิดประโยชน์ในการเรียนสูงสุด ผู้สนใจควรมีพื้นฐานภาษาอังกฤษอย่างน้อยระดับ B2 ตามเกณฑ์มาตรฐาน Common European Framework of Reference for Languages (CEFR) อย่างไรก็ตาม ผู้เรียนที่มีความสนใจแต่มีระดับทักษะภาษาอังกฤษต่ำกว่า B2 ก็สามารถลงเรียนได้ หากมีประสบการณ์ และ/หรือคุ้นเคยกับการใช้ภาษาภาษาอังกฤษเป็นสื่อกลางในการเรียน หรือการทำงานมาก่อน
  • นอกจากนี้ วิชานี้จัดอยู่ในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป กลุ่มวิชาภาษาอังกฤษขั้นสูง (Advanced English) นักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดลชั้นปีที่ 1 ระดับปริญญาตรี หลักสูตรไทยทุกหลักสูตร ทุกสาขาวิชา ที่มีทักษะความสามารถด้านภาษาอังกฤษขั้นสูง และมีผลคะแนนทดสอบด้านภาษาอังกฤษเป็นไปตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด สามารถเลือกเรียนรายวิชาได้ตามความสนใจ
 
  วัตถุประสงค์การเรียนรู้:
  • LO1:Recognize the language associated with accessing and searching for information effectively using a variety of digital tools
  • LO2:Critically evaluate the reliability of English online sources for academic uses
  • LO3: Apply knowledge about key concepts, vocabulary, grammar, and advanced receptive language strategies in the comprehension and analysis of academic multimedia content of varying linguistic complexities on various topics related to digital citizenship
  • LO4:Show an increased awareness of ethical implications surrounding the access and use of digital resources and can follow best practices for attribution
 
  นโยบายการวัดประเมินผล เกณฑ์การให้คะแนน การผ่าน/ไม่ผ่าน และใบประกาศนียบัตร
      ผู้เรียนได้รับประกาศนียบัตรอิเล็คทรอนิกส์ เมื่อผ่านการวัดผลทั้งหมด และได้ผลการประเมินเกิน 70%

 

 ทีมผู้สอนและทีมผู้พัฒนารายวิชาออนไลน์
     
  อาจารย์ ดร. อนุชยาน์ มนทการติวงศ์
คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
e-mail: anuchaya.mon@mahidol.edu
     

 

Enroll
IT Development & Service Excellency
Open: Monday - Friday, 8:30 AM - 4:30 PM.
Tel: 02-849-4600 Fanpage : MUx.Mahidol