ชื่อรายวิชา (Course Title Name)
ชื่อวิชาภาษาไทย การอ่านและเขียน Correspondence ในบริบททางวิทยาศาสตร์
ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ Reading and Writing Correspondence Articles in Scientific Contexts
คณะ/ส่วนงาน ศิลปศาสตร์
ภาษาที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน ภาษาอังกฤษ
ข้อมูลผู้รับผิดชอบและพัฒนารายวิชา
ชื่อ-นามสกุล รองศาสตราจารย์ ดร. ทรงศรี สรณสถาพร |
|
ชื่อ-นามสกุล นางสาวกุลธิดา คำมี e-mail: annenfants@gmail.com |
|
ชื่อ–สกุล นายสุทธิพงษ์ ตะเภาทอง สังกัด คณะศิลปศาสตร์ e-mail: sutipong.tap@mahidol.edu |
|
ชื่อ–สกุล นายอรรถพล แห่งหน สังกัด คณะศิลปศาสตร์ e-mail: auttapon.hen@mahidol.edu |
|
ชื่อ–สกุล นางสาวพนิดา หนูทวี สังกัด คณะศิลปศาสตร์ e-mail: panida.noo@mahidol.edu |
คำอธิบายรายวิชา
องค์ประกอบ หน้าที่ คำศัพท์ การอ่านเพื่อความเข้าใจ การเขียนประโยค และ การเขียนบทความแบบโต้แย้งและให้เหตุผล
ระดับความยากของเนื้อหารายวิชา เบื้องต้น
รายวิชาจัดอยู่ในกลุ่ม กลุ่มวิชา Soft Skills
รายวิชาจัดอยู่ในหมวด Literacy ของมหาวิทยาลัย
Communication Literacy (Language, Academic Communication)
รูปแบบการเรียน เรียนตามกำหนดเวลาโดยผู้สอน (instructor-paced)
จำนวนชั่วโมงการเรียนรู้ออนไลน์ 15 ชั่วโมงการเรียนรู้
จำนวนชั่วโมงการเรียนรู้ต่อสัปดาห์ 1-3 ชั่วโมงการเรียนรู้/ต่อสัปดาห์
โครงสร้างเนื้อหา
Lesson1: Components of Correspondence
Lesson2: Claim
Lesson3: Premises
Lesson4: Conclusion
Lesson5: Integration of Reading and Writing Correspondence Articles
ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวัง Learning Outcome
LO1 | ระบุองค์ประกอบและหน้าที่ของ correspondence article ได้ถูกต้อง |
LO2 | ใช้คำศัพท์ตามบริบทของการเขียน correspondence article ได้ถูกต้อง |
LO3 | เขียนรูปแบบประโยคได้ตามลักษณะการเขียน correspondence article ได้ถูกต้อง |
LO4 | เขียน correspondence article ได้ถูกต้อง |
LO5 | ตอบคำถามจากการอ่าน correspondence article เพื่อความเข้าใจ ได้ถูกต้อง |
กลุ่มเป้าหมาย/ผู้เรียน
- นักเรียน/นักศึกษา ระดับมัธยมปลายหรืออุดมศึกษา
- นักวิทยาศาสตร์/นักวิจัย/นักวิชาการหรือผู้สนใจการเขียนเชิงวิชาการ และ การเขียนเชิงแสดงความคิดเห็น
- ครูผู้สอนภาษาอังกฤษทั่วประเทศ
- บุคคลทั่วไป
เป็นรายวิชา up-skill วิชานี้เป็นการเพิ่มทักษะการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษในระดับที่สูงขึ้นจากการอ่านเพื่อความเข้าใจทั่ว ๆ เนื่องจากผู้เรียนจะได้เรียนรู้การอ่านบทความแบบโต้แย้งและการให้เหตุผลประกอบการโต้แย้ง ผู้เรียนจะได้เรียนรู้การเขียนประโยค และ การเขียนบทความแบบโต้แย้งและให้เหตุผล ตัวอย่างที่นำมาประกอบการเรียนการสอนเป็นบทความทางวิทยาศาสตร์จากวารสารชั้นนำของโลก ดังนั้น ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เทคนิคการโต้แย้งจากการอ่านและแสดงการโต้แย้งด้วยการเขียนที่เป็นระดับมาตรฐานโลก
ผู้เรียน/รอบการเปิดสอน 100 คน
ความรู้พื้นฐานที่ผู้สนใจเรียนวิชา ไม่จำเป็นต้องมีความรู้พื้นฐาน
ทักษะด้านการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตขั้นพื้นฐานของผู้เรียนที่จำเป็นต้องมี
- สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์โปรแกรมพื้นฐานทั่วไป
- สามารถเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตได้
การนำผลการเรียนรู้ไปใช้ประโยชน์ / การตอบสนองความต้องการทางสังคม
สามารถนำ certificate ที่ได้จากรายวิชาไปใช้ในการเรียนต่อได้
แหล่งข้อมูลความรู้เพิ่มเติมที่น่าเชื่อถือใน Internet ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหารายวิชา
- www.nature.com/nature/articles?type=correspondence
- Hall, T. (2015). How to Write an Argumentative Paragraph. Retrieved from https://www.youtube.com/watch?v=UO1dqhXwq5A
- How to Write an Argumentative Essay (Part One). (2019). Retrieved from https://www.britishcouncil.sg/about/press/newsletter-articles/secondary-english/how-write-argumentative-essay-part-one.
- MOOD AND VOICE. (2019). Retrieved from http://pioneer.chula.ac.th/~rantikar/Grammar6.htm.
บทเรียนที่เกี่ยวข้อง (Related Courses)
การเขียนบทคัดย่อภาษาอังกฤษ (How to write English Abstracts) (Click)
การวัดผลบนระบบออนไลน์ |
- Pre-test/Post-test |
- Quiz |
- Formative (Assignment/แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 1-5) |
- Graded Quiz |
คะแนนที่ผ่านเกณฑ์การเรียนการสอน 70% ขึ้นไป |